วันเสาร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

Fourth : Learning log ( 1st September, 2015)




Fourth : Learning log ( 1st September, 2015)

ประเภทของประโยค ( Types of sentence)

ประโยค (sentence) เกิดจากคำหลายๆคำหรือวลีที่นำมาเรียงต่อกันอย่างเป็นระเบียบให้แต่ละคำมีความสัมพันธ์กัน มีใจความสมบูรณ์ แสดงให้รู้ว่าใครทำอะไรที่ไหนอย่างไร โดยในประโยคหนึ่งๆจะต้องมีภาคประธานซึ่งเป็นคำหรือกลุ่มคำที่ทำหน้าที่เป็นผู้กระทำ ผู้แสดงซึ่งเป็นส่วนสำคัญของประโยค ภาคประธานนี้อาจมีบทขยายซึ่งเป็นกลุ่มคำหรือคำนำมาประกอบเพื่อให้มีความหมายชัดเจนยิ่งขึ้น และภาคแสดงในประโยคซึ่งเป็นกลุ่มคำหรือกลุ่มคำที่ประกอบด้วยบทกริยา บทกรรมหรือส่วนเติมเต็ม โดยบทกริยาทำหน้าที่เป็นตัวกระทำหรือตัวแสดงของภาคประธาน บทกรรมทำหน้าที่เป็นผู้ถูกกระทำ ส่วนเติมเต็มทำหน้าที่เสริมใจความประโยคให้สมบูรณ์ โดยแบ่งประโยคได้ 4 ชนิดคือ ประโยคความเดียว, ประโยคความรวม, ประโยคความซ้อน และประโยคความผสม ซึ่งแต่ละประเภทของประโยคนั้นต่างก็เป็นสิ่งสำคัญในการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาอังกฤษ
ประโยคความเดียว (simple sentence) เป็นกลุ่มคำหรือข้อความที่พูดออกไปแล้วมีใจความเดียว มีความสมบูรณ์ในตัวเอง ไม่มีประโยคอื่นมาเกิดร่วมด้วย คือมี ประธาน (subject) ตัวเดียว และ กริยา (verb) ตัวเดียว เช่น
                My son does his exercises every day. ลูกชายของผมทำแบบฝึกหัดทุกๆวัน
Having finished his dinner, he went to read in the sitting-room.
เมื่อเสร็จจากอาหารค่ำแล้ว เขาก็ไปอ่านหนังสือในห้องรับแขก (ประโยค  Having finished his dinner, he went to read in the sitting-room.  (ถึงจะมี Verb หลายตัว แต่ก็ยังจัดว่าเป็น Simple Sentence อยู่ เพราะถึงแม้จะมี Verb หลายตัวแต่ก็เป็น Finite Verb (กริยาแท้) เพียงตัวเดียวเท่านั้นคือ went นอกนั้นเป็น Non-Finite Verb (กริยาไม่แท้) ทั้งสิ้น กล่าวคือhaving finished เป็น Participle, to read เป็น Infinitive และ sitting เป็น Gerund เพราะฉะนั้นประโยคนี้จึงถือว่าเป็น Simple Sentence)
Simple Sentence ยังแบ่งออกเป็นประโยคย่อยได้อีก 5 รูป ดังนี้คือ
1.ประโยคบอกเล่า (Declarative Sentence) เช่น
I live in Lumpang. ผมอยู่ลำปาง
He will be back here in few minutes.เขาจะกลับมาที่นี่ภายใน 2-3 นาทีนี้แล้ว
2.ประโยคปฎิเสธ (Negative Sentence) เช่น
I don't live in Ayuttaya. ผมไม่ได้อยู่อยุธยา
He isn't able to speak Japanese fluently. เขาไม่สามารถพูดภาษาญี่ปุ่นได้ดี
3.ประโยคคำถาม (Interrogative Sentence) เช่น
Were you born in Bangkok ? คุณเกิดที่กรุงเทพหรือไม่ ?
Does he own this house ?  เขาเป็นเจ้าของบ้านหลังนี้หรือ ?
4.ประโยคขอร้อง (Imperative Sentence) เช่น
Please open the window. กรุณาเปิดหน้าต่างหน่อย
Be quiet in the library. จงเงียบเมื่ออยู่ในห้องสมุด
5.ประโยคอุทาน (Exclamatory Sentence) เช่น
There gone the bus !  รถเมล์ไปที่นั่นแล้ว
How cold it is !   อากาศหนาวอะไรอย่างนี้

ประโยคความรวม (Compound Sentence) แปลว่า “อเนกัตถประโยค” หมายถึง ประโยคที่มี Simple sentences 2 ประโยคมารวมกัน โดยเชื่อมด้วย  Co-ordinator (ตัวประสาน) ตัวอย่างเช่น เป็น Simple Sentence เพราะแยกกันอยู่
He is poor.                                           He is honest.
เขายากจน                                             เขาซื่อสัตย์
เป็น Compound Sentence เพราะมีตัวประสานเชื่อม
He is poor and he is honest.
เขายากจนแต่เขาซื่อสัตย์
ตัวประสานที่มาเชื่อมให้เป็น Compound Sentence ได้แก่
1. เครื่องหมายวรรคตอน (Punctuation)
2. วิเศษณ์เชื่อม (Conjunction Adverb)
3. สันธานประสาน (Co-ordinate)

การเชื่อมด้วยเครื่องหมายวรรคตอน
                เครื่องหมายวรรคตอนที่นิยมนำมาเชื่อม Simple Sentence ให้เป็น Compound Sentence ได้แก่ Semi - colon(;), Colon (:), Dash (-) และ Comma (,)
                Semi - colon(;) ใช้เชื่อมประโยคที่ผู้เขียนยังรู้สึกไม่อยากขึ้นประโยคใหม่ เพราะเห็นว่าใจความยังคงต่อเนื่องกันอยู่ ซึ่งก็เป็นความรู้สึกของผู้เขียนประโยคเท่านั้น เช่น
                Daeng was sick ; he didn’t work yesterday.
=             Daeng was sick.  he didn’t work yesterday.
                Colon (:)  และ Dash (-)  2 เครื่องหมายอันนี้ใช้เชื่อมในกรณีที่ผู้เขียนเห็นว่าผลของประโยคหลังมีสาเหตุมาจากประโยคข้างหน้าโดยแท้ เช่นจากตัวอย่างข้างบน ถ้าผู้เขียนเห็นว่า การที่แดงไม่ทำงานเมื่อวานนี้เป็นผลโดยตรงจากการไม่สบายก็อาจใช้  Colon (:) หรือ Dash (-)  มาเชื่อมแทนก็ได้ เช่น
                Daeng was sick : he didn’t work yesterday.
                Daeng was sick - he didn’t work yesterday.
                Comma (,)2 เครื่องหมายนี้นิยมใช้เชื่อมในกรณีผู้เขียนเห็นว่า เหตุการณ์ดังกล่าวนั้นถ้าจะขึ้นประโยคใหม่ก็จะทำให้ขาดความต่อเนื่อง ทำให้เสียภาพพจน์ของเหตุการณ์ จึงจำเป็นต้องใช้ comma (,) เพื่อรักษาความต่อเนื่องเอาไว้ เช่น
                I look around here. Sombat was writing a letter, Wichit was reading, Nipon was doing exercise.
                ผมมองไปรอบๆที่นี่ (เห็น) สมบัติกำลังเขียนจดหมายม วิชิตกำลังอ่านหนังสือ (ส่วน) นิพนธ์ทำแบบฝึกหัด

การเชื่อมด้วย Conjunctive Adverb
                Conjunctive Adverb (คำวิเศษณ์เชื่อม) ที่ใช้เชื่อม Simple Sentence ให้เป็น Compound Sentence แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
                1) ชนิดคำที่มีลักษณะเป็นการเติมเข้ามาเพื่อเน้นให้ผู้อ่านผู้ฟังได้ฉุกคิด หรือเน้นให้เห็นข้อสังเกตได้ชัดขึ้น เช่น
however                                อย่างไรก็ตาม                        moreover                              ยิ่งกว่านั้น
furthermore                         ยิ่งกว่านั้น                              consequently                        ดังนั้น
nevertheless                         อย่างไรก็ดี                             accordingly                          เพราะฉะนั้น
meanwhile                            ระหว่างนี้                              therefore                               ดังนั้น
เช่น        He is very poor however he is ambitious.
                เขายากจน แต่อย่างก็ตามเขายังมีความทะเยอทะยาน
                He was injured : nevertheless he play very well.
                เขาได้รับบาดเจ็บแต่กระนั้นเขาก็เล่นได้ดีมาก
                2) ชนิดคำที่มีความหมายเป็น Transitional Word (คำที่มีความหมายเปลี่ยนแปลงจากสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง) ซึ่งมีความหมายอ่อนลงมาก จนอาจใช้เหมือน Adverb ธรรมดาหรือเสมือนคำ Conjunctive ธรรมดา ได้แก่คำต่อไปนี้
                other wise                             มิฉะนั้น                 thus                        ดังนั้น
                still                         ยังคง                      hence                     ดังนั้น
                yet                          ยัง
เช่น        You must apologize, other wise you will punished.
                คุณจะต้องขอโทษมิฉะนั้นคุณจะถูกลงโทษ
                He is very rich ; still he is unhappy.
การเชื่อมด้วย Co-ordinate Conjunction
                Co-ordinate Conjunction (สันธานประสาน) ที่นำมาเชื่อมประโยค Simple Sentence ให้เป็น Compound Sentence (ประโยครวม) แบ่งออกเป็น 4 ชนิดคือ
1)            แบบรวม (Cumulative) ได้แก่ and และคำที่มีความหมายคล้าย and (The cumulative and type) ที่นำมาเชื่อมประโยคให้เป็น Compound Sentence ได้แก่คำต่อไปนี้
and                                                                                         และ
and……….too                                                    และ……….อีกด้วย
and……….also                                                   และ……….อีกด้วย
and also                                                                 และอีกด้วย
as well as                                                                              และก็ , พอๆกันกับ
and……….as well                                                             และ……….อีกด้วย
both……….and                                                  ทั้ง……….และ
not only……….but also                                  ไม่เพียง……….เท่านั้น,  แต่……….อีกด้วย
เช่น        Panya is tall and handsome.            ปัญญาสูงและรูปหล่อ
                Wirat is calm and prudent too.      วิรัตน์เป็นคนใจเย็นและรอบคอบอีกด้วย
                2) แบบเลือกได้แก่ or และคำที่มีความหมายคล้าย or (The Disjunctive or-type) ที่นำมาเชื่อมให้เป็น Compound Sentence ได้แก่
                or                                                                                            หรือ, มิฉะนั้นแล้ว
                or else                                                                                    หรือมิฉะนั้น
                either……….or                                                                  (อันนี้) หรือ (อันนั้น)
                neither……….nor                                                             ไม่(ทั้งอันนี้) และ (อันนั้น)
เช่น        You must go to work or else you would be fired.
คุณจะต้องไปทำงานมิฉะนั้นคุณอาจจะโดนไล่ออก
Do you want Pepsi or Coca-Cola ?
คุณต้องการเป๊ปซี่หรือโค๊ก
3) แบบแยกได้แก่ but และคำที่มีความหมายคล้าย but (The adversative But – type) ที่นำมาเชื่อมเพื่อให้เป็น Compound Sentence ได้แก่
                but                                          แต่
                while                                      แต่, ส่วน
                whereas                                 แต่, ด้วยเหตุนี้
                yet                                          ยัง, ถึงอย่างนั้น
                still                                         ยัง, ถึงอย่างนั้น
เช่น        I like her, but I don't love her.     
ผมชอบเธอแต่ผมไม่ได้รักเธอ
Prasit is ambitious while ( or whereas ) his brother is quite the reverse.         
ประสิทธิ์เป็นคนที่มีความทะเยอทะยานขณะที่น้องชายของเขาตรงกันข้ามมากทีเดียว


                4) แบบเชื่อมความซึ่งเป็นเหตุเป็นผลแก่กันและกัน ได้แก่คำต่อไปนี้ so และคำที่มีความหมายเทียบเท่า so ( The Illative So – type) ได้แก่คำต่อไปนี้
                so                                                                            ดังนั้น
                for                                                                          เพราะ, เพราะเหตุว่า
                therefore                                                               ดังนั้น
                consequently                                                        ดังนั้น
                accordingly                                                          เพราะฉะนั้น
เช่น        He was sick. so he didn't go to work yesterday.     
เมื่อวานนี้เขาป่วย ดังนั้นเขาไม่ได้ไปทำงาน
I take good care of the woman, for she is my mother.          
ฉันดูแลผู้หญิงคนนั้นเป็นอย่างดีเพราะว่าท่านเป็นแม่ของฉัน                 
Prawit didn't study. Therefore,He failed the test.   
ประวิทยไม่ได้อ่านหนังสือ ดังนั้น เขาจึงสอบตก       
(เฉพาะ therefore, consequently และ accordingly ข้างหน้าใส่ (;) ข้างหลังใส่ (,)

Complex Sentence
                Complex Sentence หมายถึงประโยคใหญ่ที่ประกอบขึ้นมาจากประโยคเล็ก 2 ประโยค ซึ่งใน 2 ประโยคนี้มีความสำคัญไม่เท่ากัน คือ ประโยคหนึ่งเรียกว่า Main Clause หรือ Principal Clause (ประโยคหลัก) ส่วนอีกประโยคหนึ่งเรียกว่า Subordinate Clause (ประโยคอาศัย) เป็นประโยคที่ต้องอาศัยประโยค Main Clause เสียก่อนจึงได้เนื้อความสมบูรณ์
                Complex Sentence แบ่งเป็น 3 ชนิดคือ
                1) Noun clause แปลว่า “นามานุประโยค” หมายความว่า ประโยคทั้งประโยคนั้นถูกนำมาใช้เสมือนกับเป็นคำนามคำหนึ่ง วิธีที่จะสังเกตว่า clause ใดเป็น Noun clause นั้นให้สังเกตดังนี้ คือ
                1. Noun Clause มักจะขึ้นต้นประโยคของมันด้วย that ซึ่งแปลว่า “จะ” และ หรือ
                2. Noun Clause มักจะขึ้นต้นประโยคด้วยถ้อยคำที่แสดงคำถามคือ how, what, which, where, when, why, who, whose, whom เช่น
                I don’t know how he didn’t.
                ผมไม่รู้ว่าเขาทำมันได้อย่างไร
                He said that he know you.
                เขาพูดว่าเขารู้จักคุณ
                What do you want is in the bag.
                สิ่งที่คุณต้องการอยู่ในถุงนี้แล้ว



หน้าที่ (Function) ของ Noun clause      
                Noun clause เมื่อนำมาใช้อย่างนาม หรือเหมือนคำนาม ก็ย่อมทำหน้าที่ได้เช่นเดียวกับคำนามทั่วๆไป
                1) เป็นประธาน (Subject) ของกริยาได้ เช่น
                What she is doing seem very difficult.
                สิ่งที่เธอกำลังทำอยู่ดูเหมือนว่ายากมาก
                (What she is doing เป็นประธานของ seem)
                Where he lives is not know.
                เขาอยู่ที่ไหนยังไม่มีใครรู้
                (Where he lives เป็นประธานของ is not know)
                2) เป็นกรรม (Object) ของกริยาได้
                I want to know  where she lives.
                ผมอยากรู้ว่าหล่อนอยู่ที่ไหน
                (where she lives เป็นกรรมของ know)
                He promised that he would pay back the death.
                เขาให้สัญญาว่า เขาจะใช้หนี้คืนให้
                (that he would pay back the death เป็นกรรมของ promised)
                3) เป็นกรรม (Object) ของบุรพบท (Preposition) ได้ เช่น
                Wanna laughed at what you said.
                วรรณาหัวเราะเยาะสิ่งที่คุณพูด
                (what you said เป็นกรรมของ at)
                She is waiting for what she wants.
                หล่อนกำลังรอคอยสิ่งที่หล่อนต้องการ
                (what she wants เป็นกรรมของ for)
                4) เป็นส่วนสมบูรณ์ (Complement) ของกริยาได้
                This is what you want.
                นี้คือสิ่งที่คุณต้องการ
                (what you want เป็นส่วนสมบูรณ์ของกริยา is)
                It seems that it is impossible.
                ดูเหมือนว่า มันเป็นไปไม่ได้
                (that it is impossible เป็นส่วนสมบูรณ์ของกริยา seems)
                5) เป็นคำซ้อนของคำนามตัวอื่นได้ (Appositive) เช่น
                He belief that coffee will keep him alert is incorrect.
                ความเชื่อของเขาที่ว่า กาแฟจะทำให้เขาตื่นอยู่เสมอนั้นไม่ถูกต้อง
                (that coffee will keep him alert เป็นคำซ้อนของ belief)
                The news that he intended to come gave us much pleasure.
                ข่าวที่ว่าเขาตั้งใจมากนั้นทำให้เรามีความยินดีมาก
                (that he intended to come เป็นคำซ้อนของนาม news)


การละ that (omission of that) ในประโยค Noun Clause
ประโยค Noun Clause ที่ขึ้นต้นด้วย that หรือนำหน้าประโยคด้วย that นั้น ถ้าเป็นภาษาธรรมดา (Informal) โดยเฉพาะภาษาพูด (Spoken language) แล้ว เรามักจะลบ that เสมอ เช่น
                He says coffee grows in Brazil.
( =          He says that coffee grows in Brazil. )
                เขาพูดว่า กาแฟปลูกในประเทศบราซิล
                I know he’ll return soon.
( =          I know that he’ll return soon.)
                ผมรู้ว่าเขาจะกลับมาเร็วๆนี้
ข้อยกเว้น : แต่ในกรณีต่อไปนี้ ประโยค Noun Clause จะต้องใช้ that เสมอ จะละไว้ในฐานเข้าใจไม่ได้ นั่นคือ
1) เมื่อ that-clause ขึ้นต้นประโยค ต้องใส่ that เสมอ เช่น
That coffee grows in Brazil is true.
ที่ว่ากาแฟปลูกในประเทศบราซิลนั้นเป็นความจริง
That she had decided to be engaged frightened me very much.
                ที่ว่าหล่อนตัดสินใจที่จะรับหมั้นนั้นทำให้ผมตกใจมากๆ
2) เมื่อ that-clause เป็นคำซ้อนนามที่อยู่ข้างหน้ามัน (Appositive) ต้องใส่ that เสมอ เช่น
                The news that he was murderer is not true.
                ข่าวที่ว่าเขาเป็นฆาตกรนั้นไม่เป็นความจริงเลย
                He belief that the earth moves round the sun is correct.
                ความเชื่อของเขาที่ว่าโลกหมุนรอบดวงอาทิตย์นั้นถูกต้อง
                3) เมื่อ that-clause อยู่หลัง It is ( หรือ It was) ต้องใส่ that เสมอ เช่น
                It is true that the earth moves round the sun.
                เป็นความจริงที่ว่าโลกหมุนรอบดวงอาทิตย์
                It is impossible that he has done this by himself.
                เป็นไปไม่ได้ที่ว่าเขาได้ทำสิ่งนี้ด้วยตัวเอง


2. Adjective Clause
                Adjective clause แปลว่า “คุณานุประโยค” หมายความว่า ประโยคนั้นทั้งประโยคไปทำหน้าที่เป็นคุณศัพท์ขยายนาม หรือขยายคำนามเสมอเช่นเดียวกันกับ Adjective ธรรมดา แต่การขยายด้วย Adjective Clause จะทำให้ข้อความหนักแน่นและเด่นชัดกว่าการขยายด้วย Adjective ธรรมดา เช่น
                Mrs. Jones, who lives next door, has just donated her blood to the Red Cross.
                จะเห็นได้ว่า who lives next door เป็น adjective clause ทำหน้าที่ขยายคำนาม Mrs. Jones ในประโยค โดย Adjective Clause นี้จะให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Mrs. Jones ว่าอาศัยอยู่บ้านหลังถัดไป
คำนำหน้า adjective clauses
           adjective clause จะมี relative pronoun หรือ relative adverb นำมาข้างหน้าดังนั้น adjective clause จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “relative clause”
คำที่ใช้เชื่อม adjective clause กับคำนามหรือสรรพนามที่มาข้างหน้ามีดังนี้
1)            Relative Pronouns
                                who, whom, whose                          ใช้แทนคน
                                which                                    ใช้แทนสัตว์และสิ่งของ
                                that                                                        ใช้แทนได้ทั้ง คน สัตว์ และสิ่งของ
2)            Adverbs               
                                where                                                     ใช้แทนสถานที่
                                when                                                      ใช้แทนเวลา
                                why                                                        ใช้แทนเหตุผล
การใช้คำนำหน้า adjective clause  มีหลักดังนี้
1) Relative Pronouns
who, whom, whose   ใช้แทนคำนามข้างหน้าที่เป็นคน
who  ใช้เป็นประธานของคำกริยาใน  adjective clause                 
The manager who gives his workers democratic supervision is popular.
The government will give assistance to the garment workers who were laid off.

whom ใช้เป็นกรรมของคำกริยาหรือคำบุพบทใน  adjective clauseใช้แทนเหตุผล
 A secretary whom the company has just employed graduated from an open university.     
จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่า whom เป็นกรรมของกริยา has just employed ใน adjective clause ซึ่งทำหน้าที่ขยายคำนาม a secretary ในประโยคหลัก A secretary graduated from an open university. ในที่นี้ หมายความว่า เลขานุการคนที่บริษัทเพิ่งจ้างจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเปิด  
 The students to whom the teacher gave grade A were very delighted.
จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่า whom เป็นกรรมของบุพบท to ใน adjective clause ซึ่งทำหน้าที่ขยายคำนาม the students ในประโยคหลัก The students were delighted. ในที่นี้ หมายความว่า นักศึกษาพวกที่อาจารย์ให้เกรดเอ ดีใจเป็นอย่างยิ่ง

whose ใช้แสดงความเป็นเจ้าของระหว่างคำนามที่มาข้างหน้าและคำนามที่อยู่ข้างหลัง whose                                         
The movie director whose son was ordained yesterday is seriously ill.
 The 26-year-old woman whose car was not working called for help.
                ปกติจะใช้  whose กับคำนามข้างหน้าที่เป็นคน   แต่หากใช้อย่างไม่เป็นทางการ ก็สามารถใช้กับ สัตว์หรือสิ่งของได้  โดยเฉพาะอย่างยิ่งมักใช้กับชื่อประเทศหรือเรือเดินสมุทรThailand, whose trade volume has been increasing, has been affected by the political unrest.
Thailand, whose trade volume has been increasing, has been affected by the political unrest.

which ใช้แทนคำนามข้างหน้าที่เป็นสัตว์และสิ่งของ โดยทำหน้าที่เป็นประธานหรือกรรมในadjective clause
The car which is parked there was stolen from the neighborhood nearby.
The dog which she is raising as a pet was a homeless dog.

that ใช้แทนได้ทั้งคน  สัตว์  และสิ่งของ โดยทำหน้าที่เป็นประธานหรือกรรมของคำกริยาใน   adjective clause  โดยปกตินิยมใช้ that เมื่อคำนามที่อยู่ข้างหน้ามีคำคุณศัพท์แสดงการเปรียบเทียบขั้นสูงสุดหรือคำคุณศัพท์บอกลำดับที่มาขยายคำนามนั้น
Mr. Williams was the first English speaker that taught our class.
Suda is the most lenient teacher that I have ever seen.
ข้อสังเกต
1. adjective clause  ที่นำหน้าด้วย that และ that นั้นทำหน้าที่เป็น object of  a prepositionจะต้องไม่ใช้คำบุพบทหน้า that  แต่สามารถใช้คำบุพบทตามหลังคำที่ต้องใช้กับคำบุพบทนั้นภายใน adjective clause ได้
The book that you are talking about is missing from the library.
2. เมื่อใช้ that นำหน้า adjective clause จะไม่ใช้เครื่องหมาย comma  (,) คั่นระหว่างadjective clause กับคำนามที่ขยาย
Bob is the athlete that I admire most.


preposition + whom
preposition + which
คำบุพบทสามารถวางไว้หน้า whom และ which ได้หากทั้งสองคำทำหน้าที่ object of a preposition ใน adjective clause
The man in whom I have most trust is my father.
ประโยคตัวอย่างสามารถแยกได้เป็น 2 ประโยคย่อยและนำมารวมกันได้ดังนี้
a. The man is my father.
b. I have most trust in him.
a. The man is my father.
b. I have most trust in him.
http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module11/images/arrow_down.gif
         http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module11/images/arrow11.1.gif
The man in whom I have most trust is my father.
หรือ
        http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module11/images/arrow11.1.gif
The man whom I have most trust in is my father..

Thailand is in a situation in which it is essential to have unity.
ประโยคตัวอย่างสามารถแยกได้เป็น 2 ประโยคย่อยและนำมารวมกันได้ดังนี้
a. Thailand is in a situation.
b. It is essential to have unity
    in this situation.
a. Thailand is in a situation.
b. It is essential to have unity in this situation.
 http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module11/images/arrow_down.gif
                           http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module11/images/arrow11.1.gif
Thailand is in a situation in which it is essential to
have unity.

2) Relative Adverbs
where  ใช้แทนคำนามที่บอกสถานที่  ทำหน้าที่เป็นคำกริยาวิเศษณ์ใน adjective clause (มาจาก preposition + which)
The university where my brother is studying is on the next street.
ประโยคตัวอย่างสามารถแยกได้เป็น 2 ประโยคย่อยและนำมารวมกันได้ดังนี้
a. The university is on       
     the next street.
b. My brother is studying
     at the university.
a. The university is on the next street.
b. My brother is studying at the university.
http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module11/images/arrow_down.gif
The university which my brother is studying at is on the next street.       http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module11/images/arrow3.23.gif
The university at which my brother is studying is on the next street.   http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module11/images/arrow11.2.22.gif  
The university where my brother is studying is on the next street.










when ใช้แทนคำนามที่บอกเวลาซึ่งทำหน้าที่เป็นคำกริยาวิเศษณ์ใน adjective clause
It was in March 2010 when the red-shirted people started their rally.
ประโยคตัวอย่างสามารถแยกได้เป็น 2 ประโยคย่อยและนำมารวมกันได้ดังนี้
a. It was in March 2010.
b. The red-shirted people  
    started their rally in
    March 2010.
a. It was in March 2010.
b. The red-shirted people started their rally in March 2010.
http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module11/images/arrow_down.gif
It was in March 2010 in which the red-shirted people started their rally.     http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module11/images/arrow3.22.gif
It was in March 2010 when the red-shirted people started their rally.

why  ใช้แทนคำนามที่บอกเหตุผล ทำหน้าที่เป็นคำกริยาวิเศษณ์ใน adjective clause
Give me a reason why you don’t like the Prime Minister.
                         ประโยคตัวอย่างสามารถแยกเป็น 2 ประโยคย่อยและนำมารวมกันได้ดังนี้
a. Give me a reason.
b. You don’t like the Prime
    Minister for this reason.
a. Give me a reason.
b. You don’t like the Prime Minister for this reason.
http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module11/images/arrow_down.gif
Give me a reason for which you don’t like the Prime Minister.              http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module11/images/arrow3.22.gif      
Give me a reason why you don’t like the Prime Minister.
ประเภทของ adjective Clauses
          adjective clause แบ่งเป็น 3 ประเภท  ได้แก่
          
1. Defining Clause
          2.
Non-defining Clause
          3.
Sentential Relative Clause

Defining Clause
ใช้ชี้เฉพาะคำนามที่มาข้างหน้า  ว่าเป็นคนไหน  สิ่งไหน  อันไหน ไม่ใช้เครื่องหมายใด ๆคั่นระหว่างคำนามกับ adjective clause ที่ตามมา 
 A letter which was in a pink envelope was one seeking for a donation to conserve wildlife.
The group of foreigners who visited our university was from Hawaii.
Non-defining Clause
ใช้ในการให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับคำนามที่มาข้างหน้า  โดยมีเครื่องหมาย comma (,) คั่นระหว่างคำนามกับ adjective clause ที่ตามมา  
His house, which is on Sukhumvit Road, is a two-storey house.
His wife, who teaches English at NIDA, got a Ph.D. from the USA.       
 ข้อสังเกต 
1.  ความแตกต่างของความหมายระหว่าง defining clause และ non-defining clause
a. My son who is working at NIDA earned a Ph.D from the USA.
ประโยค a. สื่อความหมายว่า ฉันมีลูกชายมากกว่าหนึ่งคน และมีอยู่คนหนึ่งที่ทำงานที่ NIDA
 b. My sonwho is working at NIDA, earned a Ph.D from the USA.
 
ส่วนประโยค  b. หมายความว่า  ฉันมีลูกชายเพียงคนเดียว และลูกคนนี้ทำงานที่ NIDA
2.  การใช้  non-defining clause สามารถใช้ได้กับคำนามทั่วไป (common noun) ที่ในบริบทได้มีการชี้เฉพาะก่อนหน้าประโยคนี้
Captain Boa is making an announcement to his passengers.  The captainwho is 40 years old, graduated from France.
             ประโยคแรกมีการกล่าวถึง Captain Boa ครั้งหนึ่งแล้ว ดังนั้น เมื่อกล่าวถึงกัปตันอีกครั้งในประโยคที่สอง จึงเป็นที่รู้กันว่าเป็นกัปตันคนเดิม  adjective clause ที่มาขยาย the captain ในประโยคที่สองจึงเป็นการให้ข้อมูลเพิ่มเติมของกัปตันผู้นี้ ไม่ใช่การชี้เฉพาะว่าเป็นกัปตันคนใด                                                                                                 
3. ห้ามใช้  that ใน non-defining clause
4. ไม่มีการละคำเชื่อมใน non-defining clause

Sentential Relative Clause
                     ใช้ในการให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับทั้งข้อความ ไม่ใช่เฉพาะคำนามที่มาข้างหน้า  และจะใช้ which นำหน้าเท่านั้นโดยมีเครื่องหมาย comma คั่นจาก main clause ที่มาข้างหน้า
Jane gave him a smile, which surprised him a great deal.
                which surprised him a great deal
เป็น adjective clause ขยายความใน main clause คือ Jane gave him a smile. ประโยคนี้หมายความว่า เจนยิ้มให้เขา ซึ่งทำให้เขาแปลกใมาก                                                    
Jim got more money than other members in the team, which is not fair.
which is not fair เป็น adjective clause ขยายความใน main clause คือ Jim got more money than other members in the team. ประโยคนี้หมายความว่า จิมได้รับเงินมากกว่าสมาชิกคนอื่นๆ ในทีม ซึ่งไม่ยุติธรรม                                          

การละคำนำหน้าใน adjective clauses
          คำนำหน้า/คำเชื่อม   who, whom, which, that  ใน adjective clause สามารถละได้ในกรณีต่อไปนี้
1. เมื่อทำหน้าที่เป็น direct object ใน defining clause
The dress (which) I like is now on sale.
which ทำหน้าที่ เป็นกรรมของกริยา like ใน adjective clause ที่มา ขยายคำนาม the dress ใน main clause คือ The dress is now on sale. ประโยคนี้หมายความว่า ชุด(ที่)ฉันชอบตอนนี้อยู่ในช่วงลดราคา
The person (that) we admire most is General Pathompong.
                that
ทำหน้าที่เป็นกรรมของกริยา admire most ใน adjective clause ที่มาขยายคำนาม the personใน main clause คือ The person is General Pathompong. ประโยคนี้หมายความว่า บุคคล(ที่)ฉันชื่นชมมากที่สุด คือ พลเอกปฐมพงษ์        
2. เมื่อทำหน้าที่เป็น object of a preposition ใน defining clause
The person with whom I talked about my study problem is a new director of the school.
whom ทำหน้าที่ เป็นกรรมของบุพบท with ใน adjective clause ที่มาขยายคำนาม the personใน main clause คือ The person is a new director of the school. ประโยคนี้หมายความว่า บุคคล(ที่)ฉันคุยเรื่องปัญหาการเรียนด้วย คือ ผู้อำนวยการโรงเรียนคนใหม่ จึงละคำ whom ได้ โดยเมื่อละ whom แล้ว บุพบท with ต้องอยู่ท้าย adjective clause นั้น ดังนี้
The person (whom) I talked about my study problem with is a new director of the school.

การลดรูป adjective clause
          คำนำหน้า “who”, “which” และ “that” ที่ทำหน้าที่เป็นประธานของ adjective clause สามารถลดรูปเป็นกลุ่มคำต่าง ๆ ได้ โดยเมื่อลดรูปแล้วจะกลายเป็นกลุ่มคำนาม  ดังนี้
          
1. Appositive Noun Phrase
          
2. Prepositional Phrase
          
3. Infinitive Phrase
          
4. Participial Phrase
1. Appositive Noun Phrase
adjective clause ซึ่งมี who, which และ that เป็นประธาน สามารถลดรูปได้ หากหลัง who, which และ that มี BE และให้ตัด BE ออกด้วย เมื่อลดรูปแล้ว จะเป็นกลุ่มคำนาม ที่เรียกว่า appositive ดังนี้
ประโยคที่ใช้ adjective clause
วิธีการลดรูปเป็น appositive noun phrase 
Prof. Chakarin, who is my thesis adviser, will retire next year.
Prof. Chakarin, who is my thesis adviser, will retire next year.

Prof. Chakarin, my thesis adviser, will retire next year.

2. Prepositional Phrase
adjective clause ที่มี who, which และ that เป็นประธาน สามารถลดรูปได้ หากหลัง who,
which และ that มีคำกริยาและบุพบท ที่ถ้าตัดคำกริยาแล้วเหลือแต่บุพบท ยังมีความหมายเหมือนเดิม ให้ตัดคำกริยาออกได้ เมื่อลดรูปแล้ว เป็นกลุ่มคำนามที่เรียกว่า prepositional phrase ดังนี้
ประโยคที่ใช้ adjective clause
วิธีการลดรูปเป็น appositive noun phrase 
The lady who is dressed in the national costume is a beauty queen.
The lady who is dressed in the national costume is a beauty queen.  
The lady in the national costume is a beauty queen.
ในที่นี้ dressed in the national costume มีความหมายเหมือน in the national costume

3. Infinitive Phrase
                     adjective clause ที่มี who, which และ that สามารถลดรูปได้ หากข้างหลังมีกริยาในรูป BE + infinitive with to เมื่อลดรูปแล้ว เป็นกลุ่มคำนามที่เรียกว่า infinitive phrase ดังนี้
ประโยคที่ใช้ adjective clause
วิธีการลดรูปเป็น appositive noun phrase 
He is the first person who is to be blamed for the violence yesterday.
He is the first person who is to be blamed for the violence yesterday.

He is the first person to be blamed for the violence yesterday.

4. Participial Phrase
1) Present Participial Phrase
                             adjective clause ซึ่งมี who เป็นประธาน  สามารถลดรูปได้ หากหลัง who มีกริยาแท้ ลดรูป โดยตัด who และเปลี่ยนกริยาหลัง who เป็น present participle (V-ing)
ประโยคที่ใช้ adjective clause
วิธีการลดรูปเป็น appositive noun phrase 
The school students who visited the national museum were very excited.
The school students who visited the national museum were very excited.

The school students visiting the national museum were very excited.


2) Past Participial Phrase
adjective clause ซึ่งมี which และ who เป็นประธาน สามารถลดรูปได้ หากหลัง which และ who มีกริยาในรูป passive form (BE + past participle) ลดรูปโดยตัด which/who และ BE ออก เหลือแต่ past participle ดังนี้
ประโยคที่ใช้ adjective clause
วิธีการลดรูปเป็น appositive noun phrase 
The money which was lost during the trip was returned to its owner.
The money which was lost during the trip was returned to its owner.

The money lost during the trip was returned to its owner.
His father, who was sent by his company to New Zealand, developed lung cancer.
His fatherwho was sent by his company to New Zealand, developed lung cancer.

His father, sent by his company to New Zealand, developed lung cancer.

อย่างไรก็ตาม ทั้ง present participial phrase และ past participial phrase สามารถ ขยายนามโดยนำมาวางไว้หน้าคำนามได้ ดังนี้
Thailand is a country which exports rice.
Thailand is a rice-exporting country.



adverb clause
         adverb clause ใช้ขยายคำกริยา คำคุณศัพท์ หรือคำกริยาวิเศษณ์ใน main clause โดยสามารถวางไว้ข้างหน้าหรือข้างหลัง main clause ก็ได้ ถ้าอยู่หน้า main clause จะมีเครื่องหมาย comma (,) คั่น เช่น
When the chairperson comes in, we will start our meeting.
http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module12/images/con1.png

We will start our meeting when the chairperson comes in.
http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module12/images/con2.png
ประเภทของ adverb clause
adverb clause อาจแบ่งเป็น 10 ประเภท ได้แก่
1. Adverb Clause of Time ใช้แสดงเวลา
2. Adverb Clause of Place ใช้แสดงสถานที่
3. Adverb Clause of Manner ใช้แสดงอาการ
4. Adverb Clause of Purpose ใช้แสดงวัตถุประสงค์
5. Adverb Clause of Reason/Cause ใช้แสดงเหตุผล/สาเหตุ
6. Adverb Clause of Result ใช้แสดงผล
7. Adverb Clause of Condition ใช้แสดงเงื่อนไข
8. Adverb Clause of Concession/Contrast ใช้แสดงใจความที่ขัดแย้งกัน
9. Adverb Clause of Comparison ใช้แสดงการเปรียบเทียบ/เปรียบเหมือนว่า เท่ากันมากกว่า หรือน้อยกว่ากัน


คำนำหน้า adverb clause
         คำที่ใช้นำหน้า adverb clause เรียกว่า subordinate conjunction และ adverb clause แต่ละประเภทมีคำนำหน้าแตกต่างกันไป ดังนี้
1.  Adverb Clause of Time
คำนำหน้า:  when, whenever, while, before, after, as soon as, by the time, since, until เช่น
He has lived here since he was born.
Please give me a call as soon as you reach home.
Ø สิ่งที่ต้องระวังเกี่ยวกับ  adverb clause ประเภทนี้คือ tense

2.  Adverb Clause of Place
คำนำหน้า:  where, wherever
You should hide where no one can find you easily.
You may gwherever you like.
Ø adverb clause of place   ไม่ใช้วางไว้หน้า main clause

3.  Adverb Clause of Manner
คำนำหน้า:  as, as if, as though
He behaves as if he were the winner.
He behaves as a winner does.
Ø adverb clause of manner ไม่ใช้วางไว้หน้า main clause

4.  Adverb Clause of Purpose
คำนำหน้า:  so that, in order that, in the hope that
The police went there in order that they could get some clues for the murder case.
You should please her so that she will give you good cooperation.
Ø ใน adverb clause of purpose จะมี  modal verb อยู่เสมอ ต้องระวังเรื่อง tense นั่นคือ ถ้าใน main clause of purpose เป็น   present tense ใน adverb clause of purpose  จะต้องใช้ modal ที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ  will, can แต่ถ้า main clause เป็น   past tense ใน adverb clause of purpose จะต้องใช้ modal “would, could” 

5.  Adverb Clause of Reason/Cause
คำนำหน้า:  because, as, since, now that, on the grounds that
Now that the civil war has ended, peace came back to the country.
 As this is the first time she has visited Bangkok, she is very excited.
Ø adverb clause of reason/cause  ที่ขึ้นต้นด้วย  now that ปกติจะวางไว้หน้า main clause
adverb clause of reason/cause ที่ขึ้นต้นด้วย on the grounds that  ปกติจะวางไว้หลัง main clause

6.  Adverb Clause of Result
คำนำหน้า:  so…that, such…that
 I am so thirsty that I could drink a gallon of water.
 It was such a hot day that four people died from sunstroke.
so…that ใช้ใน 2 กรณีคือ 
1) ใช้กับคำคุณศัพท์หรือคำกริยาวิเศษณ์ โดยคำดังกล่าวอยู่ระหว่าง soและ that  และสามารถมีกลุ่มคำอื่นขยายคำคุณศัพท์หรือคำกริยาวิเศษณ์ก็ได้ และ that ใน adverb clause ประเภทนี้สามารถละได้
Paul worked so hard (that) he fell ill.
 It is so hot in the dry season (that) people die from sunstroke.
2) ใช้กับคำนามที่มี much, many ข้างหน้า
She has so much money (that) she doesn’t have to work.
There were so many people in the room (that) it was difficult to breathe.
 such…that มีวิธีการใช้  ดังนี้ 
such…that จะมีคำนามอยู่ระหว่าง such และ that โดยคำนามดังกล่าวสามารถมีคำคุณศัพท์หรือกลุ่มคำอื่นขยายก็ได้
1) คำนามที่อยู่ระหว่าง  such และ that จะเป็นคำนามนับได้ เอกพจน์หรือพหูพจน์หรือเป็นนามนับไม่ได้ก็ได้ หากเป็นคำนามนับได้เอกพจน์ต้องใช้ a, an ข้างหน้าคำนามนั้น
Jim is such a nice guy that everyone here likes him.
She has such good qualifications that she could get a job in that large-sized company.
 The glass contains such hot water that no one can hold it.
                2) ในบางกรณีที่ความหมายชัดเจนสามารถใช้ such that ได้โดยไม่ต้องมี noun อยู่ตรงกลาง
Jim is such that everyone here likes him.
The storm was such that more than 50 houses were swept away.

7. Adverb Clause of Condition
คำนำหน้า:  as long as, if, unless, on condition that, suppose, provided (that), providing (that)
If you do not come on time, we will leave without you.
The workers would go on strike unless the wage rates were raised.
(unless มีความหมายว่า if …not คือ ถ้าไม่... หรือ ยกเว้นเสียแต่ว่า...)
adverb clause of condition  มี 3 ประเภท คือ 
1)  แสดงเงื่อนไขหรือสมมุติสิ่งที่เป็นไปได้ในปัจจุบันและอนาคต การใช้ tense ในกรณีนี้เป็นดังนี้ 
If  +  SUBJECT + VERB in the present tense, SUBJECT +  will/can/must  + V base form
If you join us, we will be happy.
ผู้ที่พูดประโยคนี้เชื่อว่า เป็นไปได้ที่คุณจะมาร่วมงานกับเรา
2) แสดงเงื่อนไขหรือสมมุติสิ่งที่เป็นไปได้ยากหรือเป็นไปไม่ได้ในปัจจุบันและอนาคต การใช้ tense ในกรณีนี้เป็นดังนี้ 
 If  +  SUBJECT + VERB in the past simple tense, SUBJECT + would/could + V base form
If John needed help, he would come to Sam.
ผู้ที่พูดประโยคนี้คิดว่า จอห์นคงไม่ต้องการความช่วยเหลือและจะไม่มาหาแซม 
3) แสดงเงื่อนไขหรือสมมุติสิ่งที่ตรงข้ามกับความจริงในอดีต การใช้ tense ในกรณีนี้เป็นดังนี้
If  +   SUBJECT  +  VERB  in  the  past  perfect  tense,  SUBJECT  +   would/could/should have  + V3
 If I had bought that piece of land three years ago,I would have lived on a farm.
ผู้พูดพูดตรงข้ามกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งความจริงก็คือ ฉันไม่ได้ซื้อที่ดินผืนนั้นเมื่อ 3 ปีที่แล้ว ฉันจึงไม่ได้อาศัยอยู่ที่ฟาร์มในตอนนั้น
 adverb clause of condition สามารถละคำนำหน้าได้ ดังนี้ 
1. ประโยคแสดงเงื่อนไขหรือสมมุติสิ่งที่เป็นไปได้ในปัจจุบันและอนาคตที่มีคำ should แสดง formality
If you should need more information, please contact us at any time.
Should you need more information, please contact us at any time.
2. ประโยคแสดงเงื่อนไขหรือสมมุติสิ่งที่เป็นไปได้ยากหรือเป็นไปไม่ได้ ในปัจจุบันและอนาคตที่ใช้  were
If you were to come to Thailand, you would be amazed at our historic places.
Were you to come to Thailand, you would be amazed at our historic places.
3. ประโยคแสดงเงื่อนไขหรือสมมุติสิ่งที่ตรงข้ามกับความจริงในอดีต ให้สลับตำแหน่ง had กับประธานของ adverb clause 
If you had told me earlier about his trouble, I would have helped him.
Had you told me earlier about his trouble, I would have helped him.

8. Adverb Clause of Concession/Contrast
คำนำหน้า:  although, though, even though, even if, while, whereas
Although he had no job, he did not seem to worry.
He insisted on continuing to pursue his dream, even though his friends tried to discourage him.
While his brother was enjoying himself at the beach, Fred was trying to finish his research paper. (ในขณะที่พี่/น้องชายของเขากำลังเพลิดเพลินอยู่ที่ชายหาด  เฟรดก็กำลังพยายามทำรายงานการวิจัยให้เสร็จ)
She is very lazy, whereas her sister is very diligent
(เธอเกียจคร้านในขณะที่พี่/น้องสาวของเธอขยันมาก)
Ø แม้ adverb clause of concession/contrast จะอยู่หลัง main clause แต่มักจะใส่ comma ข้างหน้าคำนำหน้า
คำนำหน้า:  however, as
ใช้เมื่อมีคำคุณศัพท์หรือคำกริยาวิเศษณ์อยู่ใน adverb clause  ประเภทนี้   ลักษณะโครงสร้างประโยคเป็นดังนี้
1) However + Adjective/Adverb + SUBJECT + VERB, main clause
 However difficult the task was, he managed to finish it on time.
(= Although the task was very difficult, he managed to finish it on time.)
 2) Adjective/Adverb + as  + SUBJECT + VERB, main clause
Quickly as he ran, he could not catch up with his friend.
(= Although he ran very quickly, he could not catch up with his friend.)

9. Adverb Clause of Comparison
คำนำหน้า:  as…as, so…as
การเปรียบเทียบขั้นเท่ากัน
1) as…as ใช้ได้ทั้งประโยคบอกเล่า คำถามและปฏิเสธ โดยคำที่อยู่ตรงกลาง ระหว่าง as และ as คือ คำคุณศัพท์หรือคำกริยาวิเศษณ์
Her younger sister is as beautiful as she is.
so…as  ใช้เฉพาะประโยคปฏิเสธ
The old machine does not operate so efficiently as the new one does.
I have never been so afraid, as I was when that gunman came in.
ถ้าใช้คำนามระหว่าง as…as, so…as คำนามนั้นต้องมี much หรือ many มาข้างหน้า
John has done as many research studies as I have.
This game took as much energy as that game did.
คำนำหน้า:  -er…than/more…than, less…than
การเปรียบเทียบขั้นมากกว่าหรือน้อยกว่า
He went to sleep later than I did last night.
1) คำคุณศัพท์หรือคำกริยาวิเศษณ์ที่มีพยางค์เดียวจะใช้ -er 
He gets a lower salary than those in the same work  position do
She is younger than her husband is.
2) คำที่มี 2 พยางค์บางคำจะใช้ -er  บางคำจะใช้  moreในขณะที่คำกริยาวิเศษณ์ใช้  more ทุกคำ
She is cleverer than I thought.
He went there more often than I did.
คำคุณศัพท์ที่มี 2 พยางค์ที่ใช้ more เช่น คำที่ลงท้ายด้วย -ful, -ous, -ious และคำคุณศัพท์รูป present หรือ past participle  เป็นต้น
She is now more careful about her spending than she was in the past.
I was more suspicious/surprised than you were.
3) หากเป็นคำที่มี 3 พยางค์ขึ้นไปจะใช้  more  
She is more beautiful than her sister is.
4) less ใช้ได้กับคำคุณศัพท์หรือคำกริยาวิเศษณ์ทุกตัว
People are less happy now than they were before May 19.
การลดรูป adverb clause
adverb clause สามารถลดรูปเป็นกลุ่มคำประเภทต่าง ๆได้ดังนี้
1. Present or Past Participial Phrase
adverb clause of time, adverb clause of reason/cause, adverb clause of concession/contrast, adverb clause of condition สามารถลดรูปโดยมีรายละเอียดดังนี้
1) ลดรูปได้เมื่อประธานของ adverb clause และ main clause  เป็นตัวเดียวกัน
            2) ใช้ present participial phrase (V-ing) ในกรณีที่ประธานเป็นผู้กระทำกริยา
            3) ใช้ past participial phrase (V-ed) ในกรณีที่ประธานเป็นผู้ได้รับผลของการกระทำ
v การลดรูป adverb clause of time  จะละหรือเก็บคำนำหน้า  when, while, before, after ก็ได้
ประโยคที่ใช้ adverb clause of time
วิธีการลดรูป adverb clause เป็น present/past participle
When they were enjoying gambling, they were not aware of the approach of the police attack.
When they were enjoying gambling, they were not aware of the approach of the police attack.
http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module12/images/arrow10.3.1.gif
http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module12/images/arrow10.3.1.gif
Enjoying gambling, they were not aware of the approach of the police attack. (ละคำนำหน้า when)
When enjoying gambling, they were not aware of the approach of the police attack. (ไม่ละคำนำหน้า when)

v การลดรูป adverb clause of reason/cause  ต้องละคำนำหน้าและวาง participial phrase  ไว้ต้นประโยคเสมอ
ประโยคที่ใช้
adverb clause of reason/cause
ประโยคที่ใช้
adverb clause of reason/cause
Since he worked under the Shangrila Group worldwide, he oversaw 30,000 employees.
Since he worked under the Shangrila Group worldwide, he oversaw 30,000 employees.
http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module12/images/arrow10.3.1.gif
Working under the Shangrila Group worldwide, he oversaw 30,000 employees.

v ในกรณีที่ประธานเป็นคนละตัวกัน  สามารถลดรูป adverb clause of reason/cause โดยเก็บ ประธานของ participial phrase ไว้ได้ กลุ่มคำชนิดนี้เรียกว่า  absolute phrase
ประโยคที่ใช้
adverb clause of reason/cause
วิธีการลดรูป adverb clause
เป็น present/past participle
Mr. Pacquiao, a world boxing champion, is considered the underdog in the coming election because his rival comes from a powerful clan.
Mr. Pacquiao, a world boxing champion, is considered the underdog in the coming election because his rival comes from a powerful clan.


http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module12/images/arrow10.3.1.gif
His rival coming from a powerful clanMr. Pacquiao, a world boxing champion, is considered the underdog in the coming election. (ต้องวาง participial phraseไว้ต้นประโยค และอย่าลืมเติม comma ระหว่างประโยคด้วย) 

v การลดรูป adverb clause of concession และ adverb clause of condition นั้น ประธานของ adverb clause ทั้ง 2 ประเภทต้องเป็นตัวเดียวกับ main clause โดยคำกริยาของ adverb clause มักอยู่ในรูป passive voice และจะต้องเก็บคำเชื่อมไว้  อย่างไรก็ตาม การลดรูป adverb clause ทั้งสองประเภทนี้เป็นการใช้อย่างไม่เป็นทางการ
ประโยคที่ใช้
adverb clause of  concession/ contrast และ adverb clause of condition
วิธีการลดรูป adverb clause เป็น
present/past participle
Although the soccer team was defeated 3-0, the players did not seem to surrender.
Although the soccer team was defeated 3-0, the players did not seem to surrender.

http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module12/images/arrow10.3.1.gif
Although defeated 3-0, the players did not seem to surrender.
If the project proposal is approved, the project will be implemented immediately.    
If the project proposal is approved, the project will be implemented immediately.

http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module12/images/arrow10.3.1.gif
If approved, the project will be implemented immediately.

2. Infinitive Phrase
adverb clause of purpose สามารถลดรูปเป็น infinitive phrase ได้ดังนี้
ประโยคที่ใช้
adverb clause of purpose
วิธีการลดรูปเป็น infinitive phrase
The 40-year-old university lecturer works hard in order that her daughter can study at an international school.
The 40-year-old university lecturer works hard in order that her daughter can study at an international school.


http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module12/images/arrow10.3.1.gif
The 40-year-old university lecturer works hard in order for her daughter to study at an international school. (ประธานของทั้งสองประโยคย่อยเป็นคนละตัวกัน)
in order that http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module12/images/Hand%20Pointer%20035_.png in order to
The 63-year-old university lecturer worked hard so that she would earn enough money to pay for her daughter’s educational costs overseas.
The 63-year-old university lecturer worked hard  so thatshe would earn enough money to pay for her daughter’s educational costs overseas.


http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module12/images/arrow10.3.1.gif
The 63-year-old university lecturer worked hard so as toearn enough money to pay for her daughter’s educational costs overseas.
(ประธานของทั้งสองประโยคย่อยเป็นตัวเดียวกัน ตัดประธานของ adverb clause of purpose ออก)
so that http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module12/images/Hand%20Pointer%20035_.png so as to
The aunt told her nieces to study hardso that they will not live a miserly life in the future.
The aunt told her nieces to study hard so that  they will not live a miserly life in the future

http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module12/images/arrow10.3.1.gif
The aunt told her nieces to study hard so as not to live a miserly life in the future. 
ถ้าเป็นปฏิเสธให้ใช้  in order not to, so as not to

3. Prepositional Phrase
adverb clause of reason/cause และ adverb clause of concession/contrast สามารถลดรูปเป็น prepositional phrase ได้ดังนี้
1) adverb clause of reason/cause ลดรูปเป็น prepositional phrase ที่ขึ้นต้นด้วยบุพบท because of, due to, owing to และ จะวาง prepositional phraseไว้หน้าหรือหลัง main clause ก็ได้
ประโยคที่ใช้
adverb clause of reason/cause
วิธีการลดรูป prepositional phrase
Because the economic situation in Europe is unhealthy, tourists from there are spending much less than they used to.
Because  the economic situation in Europe is unhealthy, tourists from there are spending much less than they used to.


http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module12/images/arrow10.3.1.gif
Because of  the unhealthy economic situation in Europe, tourists from there are spending much less than they used to.
(หลังบุพบทต้องเปลี่ยนประโยคย่อยเป็นกลุ่มคำนาม)

2) adverb clause of concession/contrast ลดรูปเป็น prepositional phrase ที่ขึ้นต้นด้วยคำบุพบท in spite of, despite หรือกลุ่มคำที่ใช้คำบุพบท notwithstanding
ประโยคที่ใช้  adverb clause of concession/contrast
วิธีการลดรูป prepositional phrase
Although mounting inflation is pressing, the People’s Bank of China (PBoC) has not yet significantly raised interest rates.
Although mounting inflation is pressing, the People’s Bank of China (PBoC) has not yet significantly raised interest rates.


http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module12/images/arrow10.3.1.gif

หรือ
http://www.stou.ac.th/schools/sla/b.a.english/D4LP/14212/Module12/images/arrow10.3.1.gif
Despite the pressure of mounting inflation, the People’s Bank of China (PBoC) has not yet significantly raised interest rates.
The pressure of mounting inflationnotwithstanding, the People’s Bank of China (PBoC) has not yet significantly raised interest rates.(เมื่อใช้บุพบท ต้องเปลี่ยนประโยคย่อยเป็นกลุ่มคำนาม)




Compound Complex Sentence
                Compound Complex Sentence แปลว่า “อเนกัตถสังกรประโยค”  หมายถึง ประโยคใหญ่ตั้งแต่ 2 ประโยคขึ้นไปมารวมกันอยู่โดยที่ประโยคใหญ่ท่อนหนึ่งนั้นจะมีประโยคเล็กมาแทรกiตัวอย่างเช่น
I saw no one in the house which you had told me about, so I didn’t go in.
ผมไม่เห็นใครอยู่ในบ้านซึ่งคุณได้บอกให้ผมทราบนั้นเลย  ดังนั้นจึงไม่เข้าไปข้างใน
(ประโยคนี้มีประโยคใหญ่อยู่ 2 ประโยค คือ ประโยคแรกได้แก่ I saw no one in the house which you had told me about และประโยคที่ 2 ได้แก่ so I didn’t go in ประโยคใหญ่ท่อนแรก มีประโยคเล็กซ่อนอยู่ภายใน คือ which you had told me about ลักษณะประโยคเช่นนี้เรียกว่า Compound Complex Sentence )
                ประโยคเป็นสิ่งที่สำคัญในภาษาอังกฤษเป็นอย่างมาก ประโยคจะพบอยู่ในชีวิตประจำวันของมนุษย์ในทุกๆวัน ทักษะภาษาอังกฤษทั้งสี่ด้าน คือ ฟัง พูด อ่าน และเขียนนั้นต่างก็ต้องมีส่วนประกอบของประโยคเข้ามาเกี่ยวข้อง ในการฟังเราจะต้องฟังให้ออกว่าประโยคที่จะฟังนั้นเป็นประโยคประเภทใดเพื่อที่จะตีความได้ถูกต้อง ในการพูดนั้นจะต้องใช้ประโยคให้ถูกต้องเพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจในสิ่งที่จะสื่อ ในการอ่านก็จะต้องถอดความออกมาว่าประโยคที่เราอ่านนั้นสื่อถึงอะไร ผู้เขียนต้องการให้ผู้อ่านรู้สึกอย่างไร และในการเขียนก็จะต้องเขียนประโยคให้ถูกต้องตามหลักทางไวยากรณ์เพื่อให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงความคิดที่เราจะสื่อออกไป ในการที่จะใช้ประโยคในแต่ละครั้งก็ต้องคำนึงว่าประโยคนั้นเกิดจากคำหลายๆคำหรือวลีนำมาต่อเรียงกันอย่างเป็นระเบียบให้แต่ละคำมีความสัมพันธ์กัน มีใจความสมบูรณ์ โดยประโยคจะประกอบด้วย 4 ชนิดคือ ประโยคความเดียว, ประโยคความรวม, ประโยคความซ้อน และประโยคความผสม หากเราเข้าใจเกี่ยวกับประโยคได้ถูกต้องชัดเจน ก็จะสามารถใช้ประโยคได้อย่างถูกต้องซึ่งส่งผลให้เรานั้นเป็นผู้ที่สามารถใช้ภาษาได้ดียิ่งขึ้น


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น